อาการที่เจ็บเส้นเอ็นบริเวณข้อสะบ้าหัวเข่า

อาการที่เจ็บเส้นเอ็นบริเวณข้อสะบ้าหัวเข่า

สวัสดี ทุกๆวันจันทร์ อีกเช่นเคยครับ

บทความวันนี้ จะมาพูดถึง อาการ ที่ เจ็บเข่า อีก อาการ นึง คือ
Patella tendinopathy หรือ Jumper’s knees

นั้นคือ อาการที่เจ็บเส้นเอ็นบริเวณข้อสะบ้าหัวเข่า

สาเหตุการเจ็บเส้นเอ็นหัวเข่า

1 เกิดจากแรงกระแทก บริเวณข้อสะบ้า
2 มีการกระโดดมากเกินไปโดยเฉพาะ นักกีฬาที่ต้องใช้การกระโดด
3. Imbalance ของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะ กล้ามเนื้อ hamstring ตึง (กล้ามเนื้อมัดหลังต้นขา) และ กล้ามเนื้อ quadriceps (กล้ามเนื้อด้านหน้าต้นขาถึงหัวเข่า ) อ่อนแรง
4. Poor foot biomechanic มีรูปแบบของการเดิน การทำงานของเท้า ไม่ถูกต้อง ตามหลักกลศาสตร์

อาการเจ็บเส้นเอ็นหัวเข่า

1. เจ็บบริเวณหัวเข่าด้านหน้า
2. มีการเหยียดตึงหัวเข่า มักจะเจ็บ ( squatting)
3. อาการเจ็บๆค่อยๆเพิ่มขึ้น ตั้งแต่มีอาการมาเรื่อยๆ
4. มีอาการกดเจ็บ
5. มีอาการเจ็บ หลังจากออกกำลัง
6. บ้างครั้งบวม เจ็บขณะเดิน

อาการเหล่านี้ ควรปรึกษา แพทย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ ถ้าปล่อยไว้ จะทำให้อาการเจ็บเรื้อรัง เพราะ การรักษาเส้นเอ็นให้กลับมาปกติ ต้องใช้เวลานาน

วิธีการดูแลหัวเข่า

1 หยุดกิจกรรมที่ทำให้เจ็บ
2 ใช้การประคบเย็น
3 ใช้อุปกรณ์ป้องกันการกระแทกที่เข่า
4 ตรวจเช็คสภาพรองเท้า พื้นที่ผิวสัมผัส
5 พบผู้เชี่ยวชาญในการทำ กายภาพบำบัดฟื้นฟู
6 การทำแผ่นรองรองเท้าใหม่

แฟนเพจ ท่านใด มีอาการเหล่านี้ ลองสังเกตุตัวเองดูนะครับ
แต่ถ้าไม่มั่นใจ หมอแนะนำ ปรึกษา แพทย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ เพื่อทำการรักษาต่อไป ครับ
สำหรับ สัปดาห์นี้ ขอฝากเรื่องราวดีๆนี้ไว้เท่านี้ พบกันใหม่ สัปดาห์หน้า นะครับ

หมอเฟริส สิทธิพงษ์
Podiatric Medicine

 

คลินิกตรวจสุขภาพเท้าโดยผู้เชี่ยวชาญได้ที่โรงงาน ใกล้ Central พระราม 2 หรือช็อบบน ICON SIAM ในห้าง Siam Takashimaya ชั้น 2 แผนกรองเท้าสุขภาพ

foot clinic เปิดบริการ จันทร์-เสาร์ 8.30-17.30 น. Tel 02-896-3800[:en]สวัสดี ทุกๆวันจันทร์ อีกเช่นเคยครับ

บทความวันนี้ จะมาพูดถึง อาการ ที่ เจ็บเข่า อีก อาการ นึง คือ
Patella tendinopathy หรือ Jumper’s knees

นั้นคือ อาการที่เจ็บเส้นเอ็นบริเวณข้อสะบ้าหัวเข่า

สาเหตุการเจ็บเส้นเอ็นหัวเข่า

1 เกิดจากแรงกระแทก บริเวณข้อสะบ้า
2 มีการกระโดดมากเกินไปโดยเฉพาะ นักกีฬาที่ต้องใช้การกระโดด
3. Imbalance ของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะ กล้ามเนื้อ hamstring ตึง (กล้ามเนื้อมัดหลังต้นขา) และ กล้ามเนื้อ quadriceps (กล้ามเนื้อด้านหน้าต้นขาถึงหัวเข่า ) อ่อนแรง
4. Poor foot biomechanic มีรูปแบบของการเดิน การทำงานของเท้า ไม่ถูกต้อง ตามหลักกลศาสตร์

อาการเจ็บเส้นเอ็นหัวเข่า

1. เจ็บบริเวณหัวเข่าด้านหน้า
2. มีการเหยียดตึงหัวเข่า มักจะเจ็บ ( squatting)
3. อาการเจ็บๆค่อยๆเพิ่มขึ้น ตั้งแต่มีอาการมาเรื่อยๆ
4. มีอาการกดเจ็บ
5. มีอาการเจ็บ หลังจากออกกำลัง
6. บ้างครั้งบวม เจ็บขณะเดิน

อาการเหล่านี้ ควรปรึกษา แพทย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ ถ้าปล่อยไว้ จะทำให้อาการเจ็บเรื้อรัง เพราะ การรักษาเส้นเอ็นให้กลับมาปกติ ต้องใช้เวลานาน

วิธีการดูแลหัวเข่า

1 หยุดกิจกรรมที่ทำให้เจ็บ
2 ใช้การประคบเย็น
3 ใช้อุปกรณ์ป้องกันการกระแทกที่เข่า
4 ตรวจเช็คสภาพรองเท้า พื้นที่ผิวสัมผัส
5 พบผู้เชี่ยวชาญในการทำ กายภาพบำบัดฟื้นฟู
6 การทำแผ่นรองรองเท้าใหม่

แฟนเพจ ท่านใด มีอาการเหล่านี้ ลองสังเกตุตัวเองดูนะครับ
แต่ถ้าไม่มั่นใจ หมอแนะนำ ปรึกษา แพทย์ หรือผู้เชี่ยวชาญ เพื่อทำการรักษาต่อไป ครับ
สำหรับ สัปดาห์นี้ ขอฝากเรื่องราวดีๆนี้ไว้เท่านี้ พบกันใหม่ สัปดาห์หน้า นะครับ

หมอเฟริส สิทธิพงษ์
Podiatric Medicine

 

คลินิกตรวจสุขภาพเท้าโดยผู้เชี่ยวชาญได้ที่โรงงาน ใกล้ Central พระราม 2 หรือช็อบบน ICON SIAM ในห้าง Siam Takashimaya ชั้น 2 แผนกรองเท้าสุขภาพ

foot clinic เปิดบริการ จันทร์-เสาร์ 8.30-17.30 น. Tel 02-896-3800

 

“สุขภาพที่ดี เริ่มต้นที่เท้า”
รองเท้าสุขภาพ ต้อง TALON
สอบถามรายละเอียดโปรโมชั่น
แอดLine@ ของ Talon ได้ที่นี่เลยค่ะ
👉 https://line.me/R/ti/p/%40ool5177g
.
คลินิกตรวจสุขภาพเท้า โดยผู้เชี่ยวชาญได้ที่โรงงาน ใกล้ Central พระราม 2 หรือช็อบบน ICON SIAM ในห้าง Siam Takashimaya ชั้น 2 แผนกรองเท้าสุขภาพ

foot clinic เปิดบริการ จันทร์-เสาร์ 8.30-17.30 น. Tel 02-896-3800